ecoหมวดที่ 2 การสื่อสารและสร้างจิตสำนึก

 

การดำเนินงานในปี 2567

2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่พนักงาน


🖨️ 2.2.1 มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน

  1. กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสาร (อย่างน้อยตามตัวชี้วัด)
  2. กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสารและองค์กร (ไม่จำกัดจำนวนช่องทาง)
  3. กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร (ผู้ที่เกี่ยวข้องที่อยู่ภายในและภายนอกสำนักงาน)
  4. กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร


ระดับค่าคะแนน
0=ไม่มีการดำเนินการตามแนวทางที่กำหนด | 1=มีการดำเนินการครบ 1 ข้อ | 2=มีการดำเนินการครบ 2 ข้อ | 3=มีการดำเนินการครบ 3 ข้อ | 4=มีการดำเนินการครบ 4 ข้อ
หลักฐานการตรวจประเมิน
หลักฐานอ้างอิงข้อ (1) - (4) แบบฟอร์ม 2.2 (1) หรือแบบฟอร์มที่หน่วยงานกำหนดขึ้น เพื่อแสดงแผนการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมประจำปี พร้อมกับสัมภาษณ์เพื่อดูถึงความเข้าใจของผู้รับผิดชอบในการวางแผนการสื่อสาร

แผนสื่อสารสำนักงานสีเขียว สำนักงานอธิการบดี โดย หน่วยประชาสัมพันธ์ งานบริหารงานทั่วไป กองกลาง สำนักงานอธิการบดี

 
ลำดับ
หัวข้อการสื่อสาร
วิธีการสื่อสาร
กลุ่มเป้าหมาย
ความถี่การสื่อสาร
ผู้รับผิดชอบ
ช่องทางการสื่อสาร
ภายใน
ภายนอก
1
นโยบายสิ่งแวดล้อม ผลิต Infographic คลิปรณรงค์ คลิปสุ่มสัมภาษณ์สำรวจการรับรู้สำนักงานสีเขียว เผยแพร่เอกสาร ประกาศ ฯลฯ
บุคลากร สนอ.
ประชาชนทั่วไป
ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
อธิพงศ์ กอประเสริฐสุด, พีรพัฒน์ กิจนิยม, กฤติเดช มงคลกิจ
E-DOC, ไลน์กลุ่ม สนอ., LED, เว็บไซต์, โซเชียลมีเดีย
2
ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญและการจัดการ แจ้งข้อมูลปัญหาและให้ความรู้ผ่านที่ประชุม
บุคลากร สนอ.
ประชาชนทั่วไป
ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
พีรพัฒน์ กิจนิยม
การประชุมกรีนออฟฟิซ
3
การปฏิบัติตามกฎหมาย ป้ายกำกับด้านสิ่งแวดล้อม ลิงก์ข้อมูล เผยแพร่เอกสาร ประกาศ ฯลฯ
บุคลากร สนอ.
ประชาชนทั่วไป
ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
อธิพงศ์ กอประเสริฐสุด, กฤติเดช มงคลกิจ
ป้าย, เว็บไซต์, E-DOC, ไลน์กลุ่ม สนอ.
4
ความสะอาดและความเป็นระเบียบ (5ส.) แจ้งกำหนดการ 5ส. ผลิต Infographic ให้ความรู้ เผยแพร่อัลบั้มภาพกิจกรรม เผยแพร่เอกสาร ประกาศ ฯลฯ
บุคลากร สนอ.
ประชาชนทั่วไป
ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
พีรพัฒน์ กิจนิยม, อธิพงศ์ กอประเสริฐสุด
E-DOC, ไลน์กลุ่ม สนอ., LED, เว็บไซต์, โซเชียลมีเดีย
5
เป้าหมายและมาตรการพลังงาน-ทรัพยากร (ได้แก่ น้ำ ไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง ก๊าซหุงต้ม กระดาษ และอื่นๆ) ป้ายมาตรการ สื่อประกอบ ณ ที่ตั้ง Infographic เผยแพร่เอกสาร ประกาศ ฯลฯ
บุคลากร สนอ.
ประชาชนทั่วไป
ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
อธิพงศ์ กอประเสริฐสุด, กฤติเดช มงคลกิจ
E-DOC, ไลน์กลุ่ม สนอ., LED, เว็บไซต์, โซเชียลมีเดีย
6
เป้าหมายและมาตรการจัดการของเสีย ผลิต Infographic เผยแพร่เอกสาร ประกาศ ฯลฯ
บุคลากร สนอ.
ประชาชนทั่วไป
ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
อธิพงศ์ กอประเสริฐสุด, กฤติเดช มงคลกิจ
E-DOC, ไลน์กลุ่ม สนอ., LED, เว็บไซต์, โซเชียลมีเดีย
7
ผลการใช้ทรัพยากร พลังงาน และของเสีย แสดงแดชบอร์ดสรุปผลผ่านสื่อที่หลากหลาย เผยแพร่ข่าวกิจกรรมโครงการธนาคารขยะ เผยแพร่เอกสาร ประกาศ ฯลฯ
บุคลากร นักศึกษา ผู้มาติดต่อราชการ
ประชาชนทั่วไป
ทุกเดือน
กฤติเดช มงคลกิจ, พีรพัฒน์ กิจนิยม
E-DOC, ไลน์กลุ่ม สนอ., LED, เว็บไซต์, โซเชียลมีเดีย
8
สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เผยแพร่ลิงก์และข้อมูลสำคัญบนเว็บไซต์และปรับปรุงเนื้อหา
บุคลากร สนอ.
ประชาชนทั่วไป
ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง
กฤติเดช มงคลกิจ
เว็บไซต์กรีนออฟฟิซ
9
ก๊าซเรือนกระจก แสดงแดชบอร์ดสรุปผลผ่านสื่อที่หลากหลาย ผลิต Infographic เผยแพร่เอกสาร ประกาศ ฯลฯ
บุคลากร นักศึกษา ผู้มาติดต่อราชการ
ประชาชนทั่วไป
ทุกเดือน
กฤติเดช มงคลกิจ, อธิพงศ์ กอประเสริฐสุด
E-DOC, ไลน์กลุ่ม สนอ., LED, เว็บไซต์, โซเชียลมีเดีย

 
 
 

🖨️ 2.2.2 มีการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ 2.2.1

ระดับค่าคะแนน
0=ไม่มีการดำเนินการตามแนวทางหรือดำเนินการเพียง 6 ข้อ | 1=มีการดำเนินการเพียง 7 ข้อ | 2=มีการดำเนินการเพียง 8 ข้อ | 3=มีการดำเนินการครบ 9 ข้อ แต่ขาดความสมบูรณ์ | 4=มีการดำเนินการครบ 9 ข้อ และมีความสมบูรณ์
หลักฐานการตรวจประเมิน
หลักฐานอ้างอิง จะต้องตราจสอบการสื่อสารตามแผนการสื่อสารที่กำหนดในขัอ 2.1

 

สื่อรณรงค์และประชาสัมพันธ์ปี 2567

15 ส.ค. 67
รณรงค์การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ กฤติเดช มงคลกิจ
29 เม.ย. 67
นโยบายสิ่งแวดล้อมและพลังงาน สำนักงานสีเขียว พ.ศ. 2565 กฤติเดช มงคลกิจ
*หมายเหตุ : การรณรงค์เผยแพร่ผ่านช่องทาง เว็บไซต์สำนักงานสีเขียว, จอ LED, เสียงตามสาย, ไลน์กลุ่ม สนอ.

 

ตัวอย่างสื่อประชาสัมพันธ์ทางจอวิดีทัศน์

ตัวอย่างการเผยแพร่บนจอ LED (เฉพาะแนวนอน)
URL : https://pr.rbru.ac.th/tv/green/

เป็นการเผยแพร่ผ่านโครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว ร่วมกับสำนักงานสีเขียว ประกอบด้วยกราฟแสดงผลปริมาณการใช้ไฟฟ้า น้ำประปา และน้ำมันเชื้อเพลิง พร้อมคลิปรณรงค์ แนะนำ-สื่อสาร เกี่ยวกับด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน

 

ผลการรณรงค์สื่อสารและให้ความรู้ประจำปี พ.ศ.2567

นโยบายสิ่งแวดล้อม ปี 2567 (มีเปลี่ยนแปลง 1 รายการ)

19 เม.ย. 67 นโยบายสิ่งแวดล้อมและพลังงาน สำนักงานสีเขียว 2567 สำนักงานอธิการบดี
2567-G1-d-1-line.jpg

ช่องทาง : ไลน์กลุ่ม สนอ.

2567-G1-d-1-web.jpg

ช่องทาง : เว็บไซต์

ภาพแสดงการสื่อสารนโยบายสิ่งแวดล้อมในปี 2567

ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญและการจัดการ ปี 2567

2567-G2-m-1-meeting.jpg

ช่องทาง : การประชุม

ภาพแสดงการสื่อสารปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญและการจัดการในปี 2567

การปฏิบัติตามกฎหมาย ปี 2567

ภาพแสดงการสื่อสารการปฏิบัติตามกฎหมายในปี 2567

ความสะอาดและความเป็นระเบียบ (5ส.) ปี 2567



ภาพแสดงการสื่อสารความสะอาดและความเป็นระเบียบ (5ส.) ในปี 2567

เป้าหมายและมาตรการพลังงาน-ทรัพยากร (น้ำ/ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิง/ก๊าซหุงต้ม/กระดาษ/อื่นๆ) ปี 2567 (มีเปลี่ยนแปลง 2 รายการ)

19 เม.ย. 67 นโยบายสิ่งแวดล้อมและพลังงาน สำนักงานสีเขียว 2567 สำนักงานอธิการบดี
15 มี.ค. 67 สรุปผลการทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องการจัดการพลังงาน ประจำปี 2566 สำนักงานอธิการบดี
ภาพแสดงการสื่อสารเป้าหมายและมาตรการพลังงาน-ทรัพยากรในปี 2567

เป้าหมายและมาตรการจัดการของเสีย ปี 2567

ภาพแสดงการสื่อสารเป้าหมายและมาตรการจัดการของเสียในปี 2567

ผลการใช้ทรัพยากร พลังงาน และของเสีย ปี 2567 - ข้อมูล ณ วันที่ 16 ก.ย. 67

ภาพแสดงการสื่อสารผลการใช้ทรัพยากร พลังงาน และของเสียในปี 2567

สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปี 2567

2567-G8-w-1-web.jpg

ช่องทาง : เว็บไซต์

ภาพแสดงการสื่อสารสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในปี 2567

ก๊าซเรือนกระจก ปี 2567

2567-G9-i-2-line.jpg

ช่องทาง : ไลน์กลุ่ม สนอ.

ภาพแสดงการสื่อสารก๊าซเรือนกระจกในปี 2567

เพิ่มเติม เพื่อเสริมสร้างการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว และสนับสนุนการดูแลสิ่งแวดล้อมสู่ความยั่งยืน ปี 2567

ภาพแสดงการสื่อสารเพิ่มเติมในปี 2567

 

สื่อสารการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว

ข่าวประชาสัมพันธ์กิจกรรมสำคัญ ประจำปี พ.ศ. 2567

21 พฤษภาคม 2567

สนอ.จัดกิจกรรมปลูกต้นไม้ เนื่องในโอกาสวันต้นไม้แห่งชาติ
ผู้รับผิดชอบ : พีรพัฒน์ กิจนิยม

16 พฤษภาคม 2567

สนอ. เดินหน้าสู่ Green Office มุ่งสร้างสำนักงานสีเขียวอย่างยั่งยืน
ผู้รับผิดชอบ : พีรพัฒน์ กิจนิยม

2 พฤษภาคม 2567

สนอ.ร่วมสร้างความเข้าใจ เก็บข้อมูลการใช้ไฟฟ้าอาคาร 36
ผู้รับผิดชอบ : กฤติเดช มงคลกิจ

17 เมษายน 2567

สำนักงานอธิการบดี จัดการประชุม Green Office ครั้งที่ 1/2567
ผู้รับผิดชอบ : พีรพัฒน์ กิจนิยม

*หมายเหตุ : กิจกรรมต่าง ๆ เผยแพร่ผ่านช่องทาง เว็บไซต์มหาวิทยาลัย, เว็บไซต์สำนักงานสีเขียว, จอ LED, ไลน์กลุ่ม RBRUNEWS, Facebook:RBRUNEWS, นิทรรศการ, กิจกรรมพิเศษ, การประชุม

 
 
 

🖨️ 2.2.3 ร้อยละความเข้าใจนโยบายสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย 4 คน) โดยจะต้องสอบถามพนักงานแต่ละคนอย่างน้อยตามข้อ 2.2.1 (1)

ระดับค่าคะแนน
0=พนักงานไม่มีความเข้าใจจากที่สุ่มสอบถาม | 1=น้อยกว่าร้อยละ 50 ของจำนวนที่สุ่มสอบถาม | 2=ร้อยละ 50-75 ของจำนวนที่สุ่มสอบถาม | 3=มากกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนที่สุ่มสอบถาม | 4=ร้อยละ 100 ของจำนวนที่สุ่มสอบถาม
หลักฐานการตรวจประเมิน
หลักฐานอ้างอิง สัมภาษณ์พนักงานจะต้องสอบถามความเข้าใจอย่างน้อย 9 รายการ ตามข้อ 2.2.2 (1)

หลักฐานแสดงการสัมภาษณ์ในปี พ.ศ. 2567 จำนวน 1 คลิป


Video Thumbnail
สัมภาษณ์เมื่อ 1 สิงหาคม 2567
สุ่มสัมภาษณ์ความตระหนักรู้ถึงเรื่องสำนักงานสีเขียว จากจำนวนผู้ตอบคำถาม 4 คนและตอบคำถามได้ทั้งหมด
ผู้รับผิดชอบ : พีรพัฒน์ กิจนิยม

 
 
 

🖨️ 2.2.4 มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และนำมาปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังนี้

  1. มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ไลน์ QR Code การประชุม เว็บไซต์
  2. มีผู้รับผิดชอบในการรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น
  3. มีการแสดงข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อมและการจัดการ
  4. มีการรายงานข้อเสนอแนะและการจัดการแก่ผู้บริหาร (บรรยายให้เหมาะสม)
ภาพ
ช่องทาง
ผู้รับผิดชอบ
อีเมล์ green@rbru.ac.th กฤติเดช มงคลกิจ
การรับฟังผ่านศูนย์บริการข้อมูลประชาสัมพันธ์ ชั้น 1 อาคารสำนักงานอธิการบดี (ทางโทรศัพท์และการบริการหน้าเคาท์เตอร์) พิมพ์ใจ รอดเมือง
เว็บไซต์ https://pr.rbru.ac.th/green/ กฤติเดช มงคลกิจ
QR CODE แบบฟอร์ม https://pr.rbru.ac.th/form/green/ ในรูปแบบป้ายตามจุดต่าง ๆ ในห้องน้ำอาคาร 36 และป้ายดิสเพลย์มาสคอต Green Police และจอ LED กฤติเดช มงคลกิจ
การรับฟังในที่ประชุม พิชัย เหล่าศรีวิจิตร


แนวทางการรับเรื่องร้องเรียนและการแก้ไข ข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อม ของสำนักงานอธิการบดี


  1. การเปิดรับข้อร้องเรียนและเสนอแนะ

    • ช่องทางที่ 1: ผ่านอีเมล์ green@rbru.ac.th
      • ผู้ตรวจสอบ: นางสาวพิมพ์ใจ รอดเมือง (ตรวจสอบทุกวันศุกร์)

    • ช่องทางที่ 2: รับฟังข้อร้องเรียนที่ศูนย์บริการข้อมูลประชาสัมพันธ์ ชั้น 1 อาคารสำนักงานอธิการบดี (ทางโทรศัพท์และการบริการหน้าเคาท์เตอร์)
      • ผู้รับฟัง: นางสาวพิมพ์ใจ รอดเมือง (เมื่อมีผู้มาติดต่อ)

    • ช่องทางที่ 3: ผ่านเว็บไซต์ https://pr.rbru.ac.th/green/
      • ผู้ตรวจสอบ: นายกฤติเดช มงคลกิจ (ตรวจสอบทุกวันศุกร์)

    • ช่องทางที่ 4: ผ่าน QR Code แบบฟอร์ม https://pr.rbru.ac.th/form/green/
      • ผู้ตรวจสอบ: นายกฤติเดช มงคลกิจ (ตรวจสอบทุกวันศุกร์)

    • ช่องทางที่ 5 : ผ่านการประชุม
      • ผู้ตรวจสอบ: นายพิชัย เหล่าศรีวิจิตร (เมื่อมีการประชุม)

  2. การจัดการข้อร้องเรียนและเสนอแนะ

    • • หากไม่มีข้อร้องเรียนหรือข้อเสนอแนะ
      • - ระบุว่าไม่มีในรายงานเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อม
    • • หากมีข้อร้องเรียนหรือข้อเสนอแนะ
      • - ผู้รับเรื่องแจ้งรายละเอียด: วันที่, ผู้แจ้ง (ถ้ามี), ประเภทของปัญหา
      • - ระบุในรายงานเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อม
      • - ส่งรายงานต่อ ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี (ถ้ามีข้อร้องเรียนในสัปดาห์นั้น ส่งทันที, หากไม่มีตลอดเดือน ส่งเป็นรายเดือน)

  3. กระบวนการหลังรับรายงาน

    • - ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี มอบหมายให้นายพิชัย เหล่าศรีวิจิตร จัดทำบันทึกตามแบบฟอร์ม 2.2(2) โดยระบุต้นเหตุปัญหา แนวทางการแก้ไข และการป้องกัน
    • - เสนอเข้าที่ประชุมหรือนัดหารือเฉพาะกิจเพื่อติดตามผลและจัดทำข้อสรุป
    • - รายงานสรุปผลต่อ ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี เป็นการเสร็จสิ้นกระบวนการ


    • ตัวอย่างเอกสาร : แบบฟอร์ม 2.2(2) บันทึกรับข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อม




      แผนผังแนวทางการจัดการจัดการข้อร้องเรียนและเสนอแนะ



ระดับค่าคะแนน
0=ไม่มีการกำหนดช่องทางรับข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็น หรือพบข้อร้องเรียนแต่ไม่มีการดำเนินการปรับปรุง หรือดำเนินการเพียง 1 ข้อ | 1=มีการดำเนินการเพียง 2 ข้อ | 2=มีการดำเนินการครบ 3 ข้อ | 3=มีการดำเนินการครบ 4 ข้อ แต่ขาดความสมบูรณ์ | 4=มีการดำเนินการครบ 4 ข้อ และมีความสมบูรณ์
หมายเหตุ
1. กรณีที่ไม่พบข้อร้องเรียนได้ 4 คะแนน แต่จะต้องมีการกำหนดแนวทางการรับเรื่องร้องเรียนและการแก้ไข
2. กรณีพบข้อร้องเรียนด้านสิ่งแวดล้อมและได้รับการจัดการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว ได้ 4 คะแนน
3. กรณีต่ออายุ หากมีการดำเนินการหรือแสดงข้อเสนอแนะ และ/หรือข้อร้องเรียนย้อนหลังได้บางปี หลังจากการขอการรับรองครั้งแรก จะได้ 1 - 3 คะแนน เท่านั้น หากไม่มีการดำเนินการใด ๆ หรือไม่สามารถแสดงข้อมูลย้อนหลังได้ทุกปี หลังจากการขอการรับรองครั้งแรก จะได้ 0 คะแนน
หลักฐานการตรวจประเมิน
1. หลักฐานอ้างอิงข้อ (1) - (แบบฟอร์ม 2.2 (2) ใบรับรับข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อมหรือแบฟอร์มที่หน่วยงานกำหนดขึ้น หรือช่องทางอื่น ๆ ตามที่สำนักงานเลือกใช้
2. หลักฐานอ้างอิงข้อ (2) สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบหรือผู้ที่เกี่ยวข้องถึงแนวทางการรับข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็น หรือข้อร้องเรียน
3. หลักฐานอ้างอิงข้อ (4) สามารถใช้หลักฐานรายงานการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร วาระที่ 4 การติดตามผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม การสื่อสารและข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม การปฏิบัติตามกฎหมาย รวมถึงแนวทางการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนา

พัฒนาระบบฐานข้อมูลและการสื่อสารโดย กฤติเดช มงคลกิจ
*หมายเหตุ : บางรายการอาจอยู่ระหว่างดำเนินการ อาจแสดงผลไม่ครบถ้วน

 

©2024 PR-RBRU INFORMATION SYSTEMS
Developed by : Kritidech Mongkolkit