ABOUTSWOT | RBRU PUBLIC RELATIONS - Official Site

วิเคราะห์สถานการณ์เพื่อการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ

หน่วยประชาสัมพันธ์ งานบริหารงานทั่วไป กองกลาง สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

หน่วยประชาสัมพันธ์ มีภารกิจในการสื่อสารสร้างภาพลักษณ์ที่ดี ผ่านการเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย รวมถึงกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างกันภายในและภายนอกองค์กร ซึ่งจะก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อมหาวิทยาลัย และเป็นการป้องกันความเข้าใจผิดพลาดทั้งในเชิงรับและเชิงรุก ผ่านเทคโนโลยีสื่อสารสนเทศและสื่อต่าง ๆ ที่สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่าง ครอบคลุม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการดำเนินงานจนเกิดประสิทธิภาพต่อการประชาสัมพันธ์ขององค์กร มีทีมงานพัฒนาด้านการสื่อสารและการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง โดยผ่านการวิเคราะห์สถานการณ์ ตลอดจนการขับเคลื่อนการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ ดังนี้

SWOT ANALYSIS

สิ่งที่มี ต้องการ ไม่ต้องการ ปัจจุบัน
คงสภาพ กำจัดปัญหา
  • มีบุคลากรที่มากด้วยประสบการณ์และความสามารถด้านการสื่อสารและการผลิตสื่อที่มีคุณภาพ
  • มีงบประมาณเพียงพอสำหรับการดำเนินการ
  • มีเครือข่ายสื่อมวลชนที่ดีและมีสัมพันธภาพที่แน่นแฟ้น
  • ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารและเปิดโอกาสในการสร้างสรรค์ผลงาน
  • อุปกรณ์และเครื่องมือที่เสื่อมสภาพ
  • การบริหารจัดการที่ไม่คงที่
  • การสั่งการและการบังคับบัญชา
สิ่งที่ไม่มี สิ่งที่ต้องการ หลีกเลี่ยง อนาคต
ทิศทางในอนาคต ข้อระวังที่อาจเกิดขึ้น
  • แพลตฟอร์มการประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพสูง
  • อุปกรณ์ เครื่องมือ ระบบสารสนเทศที่เสริมประสิทธิภาพการทำงาน
  • มีแผนงานสำหรับเครือข่ายคณะกรรมการประชาสัมพันธ์ที่เข้มแข็ง
  • มีแผนโครงการจัดกิจกรรมเพื่อการประชาสัมพันธ์
  • ความเข้าใจผิดในประเด็นต่าง ๆ
  • ผลกระทบของการจัดกิจกรรมและผลตอบรับที่ไม่ดีต่าง ๆ

จุดแข็งและความได้เปรียบของหน่วยประชาสัมพันธ์

    1. มีบุคลากรที่มากด้วยประสบการณ์และความสามารถด้านการสื่อสารและการผลิตสื่อที่มีคุณภาพ
    2. มีงบประมาณเพียงพอสำหรับการดำเนินการ
    3. มีเครือข่ายสื่อมวลชนที่ดีและมีสัมพันธภาพที่แน่นแฟ้น
    4. ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารและเปิดโอกาสในการสร้างสรรค์ผลงาน

วิเคราะห์สภาพปัญหาและแนวทางแก้ไข

ลำดับ ปัญหา วิเคราะห์ : สาเหตุ / ปัจจัย / ที่มาของปัญหา แนวทางแก้ไข (เชิงนโยบาย) แนวทางการป้องกัน (เชิงปฏิบัติการ)
1. อุปกรณ์และเครื่องมือที่เสื่อมสภาพ

สาเหตุ
อุปกรณ์ที่ใช้งานบางรายการที่จำเป็น มีอายุการใช้งานเกินกว่าระยะเวลาเสื่อมสภาพ

ปัจจัยอื่น
มีการใช้งานนอกสถานที่ ซึ่งไม่สามารถควบคุมสภาพอากาศและกระทบต่ออุปกรณ์

ที่มาของปัญหา
ผู้ใช้งาน

วางแผนรวบรวมอุปกรณ์ที่ชำรุดส่งซ่อม รวบรวมรายการครุภัณฑ์เสื่อมสภาพ และวางแผนจัดซื้อในงบประมาณถัดไป และหาวิธีป้องกันเหตุฉุกเฉินสำหรับการปฏิบัติงานล่วงหน้า สร้างมาตรฐานการจัดเก็บ ตรวจสอบ ซ่อมบำรุงครุภัณฑ์ที่ชัดเจน กำหนดผู้รับผิดชอบและรอบการตรวจสอบสำหรับผู้ใช้งาน โดยใช้กิจกรรม 5 ส.ดำเนินการ
2. การบริหารจัดการที่ไม่คงที่

สาเหตุ

ปัจจัยอื่น

ที่มาของปัญหา

   
3. การสั่งการและการบังคับบัญชา

สาเหตุ

ปัจจัยอื่น

ที่มาของปัญหา

   
4. ความต้องการแพลตฟอร์มการประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพสูง

สาเหตุ

ปัจจัยอื่น

ที่มาของปัญหา

   
5. ความต้องการอุปกรณ์ เครื่องมือ ระบบสารสนเทศที่เสริมประสิทธิภาพการทำงาน

สาเหตุ

ปัจจัยอื่น

ที่มาของปัญหา

   
6. ความต้องการมีแผนงานสำหรับเครือข่ายคณะกรรมการประชาสัมพันธ์ที่เข้มแข็ง

สาเหตุ

ปัจจัยอื่น

ที่มาของปัญหา

   
7. ความต้องการมีแผนโครงการจัดกิจกรรมเพื่อการประชาสัมพันธ์

สาเหตุ

ปัจจัยอื่น

ที่มาของปัญหา

   
8. ความเข้าใจผิดในประเด็นต่าง ๆ

สาเหตุ
อาจมีผู้โพสต์แสดงความคิดเห็นในสื่อออนไลน์ โดยไม่ผ่านการตรวจสอบข้อเท็จจริง ส่งผลให้เกิดความเข้าใจผิด

ปัจจัยอื่น
การสื่อสารผ่านระบบออนไลน์มีความรวดเร็วสูง และมีผู้ใช้งานจำนวนมาก

ที่มาของปัญหา
ผู้ที่อาจเกิดความเข้าใจผิด

   
9. ผลกระทบของการจัดกิจกรรมและผลตอบรับที่ไม่ดีต่าง ๆ

สาเหตุ

ปัจจัยอื่น

ที่มาของปัญหา

   

 

หน่วยประชาสัมพันธ์ งานบริหารงานทั่วไป กองกลาง สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
41 ม.5 ต.ท่าช้าง อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 โทร.0-3931-9111 ต่อ 0 อีเมล์ saraban@rbru.ac.th
©2024 RBRU PUBLIC RELATIONS
POWERED BY : KRITIDECH MONGKOLKIT